ส2 (สร้างสรรค์)



การออกแบบสร้างสรรค์อัตลักษณ์และบรรจุภัณฑ์
สำหรับธูปตะไคร้หอมไล่ยุง
ตรานพวรรณ

Logo Design
แบบที่ 1





แบบที่ 2




แบบที่ 3




แบบที่ 4




ART WORK
แบบที่ 1

CONCEPT DESIGN
สำหรับการออกแบบ Art work รูปแบบที่ 1 นั้น ผู้ออกแบบได้ ได้ออกแบบให้ธูปที่มีลักษณะเป็นแท่งยาวและมีไม้สำหรับการปักไว้ในวัตถุ เพื่อให้ตั้งจุดเพื่อไล่ยุง การออกแบบบรรจุภัณฑ์ จะมีการเว้นช่องให้เห็นสินค้าข้างในว่ามีลักษณะและสีอย่างไร ส่วนตัวกล่องนั้น จะมีสีสันต์ที่สดใสสะดุดตา เพื่อเป็นการดึงดูดผู้ซื้อสินค้า ให้มีความน่าสนใจและดูมีค่าและราคายิ่งขึ้น


แบบที่ 2

CONCEPT DESIGN
สำหรับการออกแบบ Art work รูปแบบที่ 2 นั้น ผู้ออกแบบได้ออกแบบให้ธูปที่มีลักษณะเป็นสามเหลี่ยมมนยาว และถูกจัดวางอยู่ในวัตถุที่เป็นกะลามะพร้าว และในนนั้นยังมีภาชนะรองสำหรับการจุดธูป ถูกเคลือบพลาสติกอยู่ภายในชิ้นเดียวกัน ผู้ออกแบบได้ออกแบบให้มีการเว้นช่องไว้เพื่อให้เห็นลักษณะสินค้าข้างในว่ามีลักษณะและสีสันต์อย่างไร ส่วนตัวบรรจุภัณฑ์นั้น จะไม่สดใสเหมือนแบบที่ 1 แต่จะเน้นไปที่ความหรูหรา เพื่อเหมาะสำหรับการนำไปเป็นของฝากได้




แบบที่ 3

CONCEPT DESIGN
สำหรับการออกแบบ Art work รูปแบบที่ 3 นั้น ลักษณะของบรรจุภัณฑ์นั้น จะมีการออกแบบให้เป็นรูปหัวใจ เพื่อใส่ภาชนะรองการจุดธูปที่เป็นรูปหัวใจเช่นกันได้อย่างพอดี ซึ่งผุ้ออกแบบได้กำหนดให้กล่องมีสีสันต์สดใสอย่างเช่นสีแดง เพื่อใช้เป็นของขวัญในวะระต่างๆได้



แบบที่ 4
CONCEPT DESIGN
สำหรับการออกแบบ Art work รูปแบบที่ 4 นั้น จะเป็นฉลากที่จะถูกนำมาติดกับส่วนบนของการบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ถุงพลาสติกในการบรรจุสินค้า ซึ่งสีสันต์ของตัวฉลากนั้น จะเป็นสีเขียว เพื่อบ่งบอกถึงผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากธรรมชาติ และเพิ่มลวดลายเพื่อให้มีความสะดุดตาและดูมีราคามากยิ่งขึ้น




แบบที่ 5
CONCEPT DESIGN
สำหรับการออกแบบ Art work รูปแบบที่ นั้น จะเป็นฉลากสินค้าที่เป็นสติ๊กเกอร์ เพื่อใช้ติดบนตัวสินค้า ซึ่งในฉลากนั้นจะมีข้อมูลสินค้า ไม่ว่าจะเป็นวิธีใช้ หรือคำเตือนต่างๆ จะอยู่ในฉลากแผ่นนี้ และผู้ออกแบบได้มีการออกแบบให้มีความกลมกลืนกับส่วนบนของฉลากอีกด้วย



แบบที่ 6

CONCEPT DESIGN
สำหรับการออกแบบ Art work รูปแบบที่ นั้น จะเป็นสติ๊กเกอร์ที่จะใช้ติดลงบนตัวบรรจุภัณฑ์ของกล่องรูปแบบที่ 1 สติ๊กเกอร์ตัวนี้จะใช้ติดภายในถุงธูปหอม เพื่อบ่งบอกถึงความเป็นแบรนต์ของเรา 
แต่จะใช้สีที่เรียบง่าย 






...........................................................................




ส2 (สร้างสรรค์)

การสร้างสรรค์การออกแบบอัตลักษณ์และบรรจุภัณฑ์
ธูปหอม คลองมอญ จังหวัดชัยนาท

ภาพ : สินค้าจริง (ธูปหอมคลองมอญ)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า

หมายเลข 1 คือ โครงสร้างของบรรจุภัณฑ ในที่นี้คือวัสดุที่เป็นถุง PET
หมายเลข 2 คือ ตัวผลิตภัณฑ์
หมายเลข 3 คือ เทคนิคการปิดโครงสร้าง Seal or Enclosure Technic
หมายเลข 4 คือ แผ่นสลากปิดบนตัวโครงสร้างบรรจุภัณฑ์เพื่อการสื่อสาร
หมายเลข 5 คือ ข้อความการบ่งชี้ชนิด-ประเภทสินค้า
หมายเลข 6 คือ ข้อความ-กราฟิกอัตลักษณ์แสดงชื่อยี่ห้อสินค้า ( Logotype)
หมายเลข 7 คือ สื่อรูป-ภาพกราฟิก-ประกอบการสื่อความหมายร่วม
หมายเลข 8 คือ คำโฆษณา- ความดีของสินค้า-คำเชิญชวน
หมายเลข 9 คือ ข้อมูลแจ้งส่วนประกอบสำคัญของสินค้าใช้งาน
หมายเลข 10 คือ สัญลักษณ์การรับรองความปลอดภัย-มาตรฐานการผลิต
หมายเลข 11 คือ ข้อมูลแจ้งวิธีใช้ของสินค้า
หมายเลข 12 คือ คำเตือนการใช้ของสินค้า
หมายเลข 13 คือ สถานที่ที่ผลิตสินค้า



Artwork (สำหรับธูปหอม)

ภาพ : Artwork สำหรับสินค้า
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า


ปัญหาคือ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ในแบบเดิม มีความธรรมดาและดูไม่มีสีสันต์ ผู้ประกอบต้องการให้ออกแบบใหม่ โดยการนำสีสันต์เข้ามาใช้เพิ่ม เพื่อให้สินค้า ดูมีค่าและราคามากขึ้น แต่ยังคงต้นทุนไว้ที่เดิม


ภาพ : Artwork สินค้าที่ออกแบบอัตลักษณ์ใหม่
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า

การแก้ปัญหาคือ การออกแบบอัตลักษณ์ใหม่โดยการนำรูปภาพที่ดุมีสีสันต์ใส่เพิ่มเติมลงไป เพื่อให้สินค้าดูสะดุดตาลูกค้า และทำให้สินค้าดูมีค่าและราคามากขึ้น แต่ยังคงไว้ที่ต้นทุนเดิม



การออกแบบสร้างสรรค์อัตลักษณ์บรรจุภัณฑ์ใหม่ 
(สำหรับธูปหอม)


ภาพ : บรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบลักษณะใหม่ (ด้านหน้า)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า


ภาพ : บรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบลักษณะใหม่ (ด้านข้าง)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ในรูปแบบใหม่ จะเป็นการนำกระดาษถุงสีน้ำตาลมาใช้ให้มีพื้นที่มากกว่าถุงพลาสติก เพราะกระดาษนั้นเป้นวัสดุที่มีราคาและย่อยสลายง่าย จึงเป็นสินค้าที่มีความเป้นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับสินค้าภายในถุงที่บรรจุ เพราะสินค้าทำมาจากธรรมชาติ และอัตลักษณ์นั้น ก็จะใส่สีสันต์ลงไปพร้อมกับโลโก้ที่มีการออกแบบมาเป็นอย่างดี เพื่อให้สินค้า ดูมีค่าและสะดุดตามากยิ่งขึ้น




ภาพ : บรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบลักษณะใหม่ (แบบกล่องด้านหน้า)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า

ภาพ : บรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบลักษณะใหม่ (แบบกล่องด้านข้าง)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า

การออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบกล่องนั้น เป้นการออกแบบเพื่อให้สามารถใส่ธูปหอมที่มีขนาดยาวได้ และเหมาะแก่การถูกซื้อไปเป้นของฝากหรือของที่ระลึก เพราะการบรรจุภัณฑ์ในกล่องนั้น การขนส่งสามารถทำได้ง่ายและปลอดภัยกับสินค้ามากกกว่า และการออกแบบให้สินค้าอยู่ในกล่อง เพื่อนำไปเป้นของฝาก จะดูเป็นการเหมาะสมกว่าที่สินค้าจะอยู่ในถุงพลาสติก


ภาพ : กล่องกระดาษที่มีความยาวและกว้างขนาด 4X6
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า



Artwork 

(สำหรับสมุนไพรปรับกลิ่นอากาศ)

หมายเลข 1 คือ โครงสร้างของบรรจุภัณฑ ในที่นี้คือวัสดุที่เป็นถุง PET
หมายเลข 2 คือ ตัวผลิตภัณฑ์
หมายเลข 3 คือ เทคนิคการปิดโครงสร้าง Seal or Enclosure Technic
หมายเลข 4 คือ แผ่นสลากปิดบนตัวโครงสร้างบรรจุภัณฑ์เพื่อการสื่อสาร
หมายเลข 5 คือ ข้อความการบ่งชี้ชนิด-ประเภทสินค้า
หมายเลข 6 คือ ข้อความแนะนำตัวสินค้า
หมายเลข 7 คือ ข้อความ-กราฟิกอัตลักษณ์แสดงชื่อยี่ห้อสินค้า ( Logotype)
หมายเลข 8 คือ สื่อรูป-ภาพกราฟิก-ประกอบการสื่อความหมายร่วม
หมายเลข 9 คือ คำโฆษณา- ความดีของสินค้า-คำเชิญชวน
หมายเลข 10 คือ ข้อมูลแจ้ง-บ่งชี้ประกอบสินค้า
หมายเลข 11 คือ ข้อมูลแจ้งส่วนประกอบสำคัญของสินค้าใช้งาน
หมายเลข 12 คือ สัญลักษณ์การรับรองความปลอดภัย-มาตรฐานการผลิต
หมายเลข 13 คือ ข้อความแจ้งราคาสินค้า
หมายเลข 14 คือ ข้อมูลแจ้งส่วนประกอบสำคัญของสินค้า
หมายเลข 15 คือ สัญลักษณ์การรับรองคมาตรฐานการผลิต รางวัล ความดีที่ได้รับ
หมายเลข 16 คือ ปริมาตร-น้ำหนักสินค้า



ภาพ : การเรียนแบบ Artwork ของสมุนไพรปรับกลิ่นอากาศ
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า


ปัญหาคือ การออกแบบในลักษณะเดิมมีลักษณะที่ลูกค้าดูไม่ออกว่าสินค้าข้างในคืออะไร จึงทำให้เกิดปัญหาในการแกะดุสินค้า ทำให้กล่องและภาชนะบรรจุมีควายเสียหาย และสีสันต์ดูไม่สะดุดตาผู้บริโภค จึงทำให้มีคู่เเข่งมากมาย


การออกแบบสร้างสรรค์อัตลักษณ์และบรรจุภัณฑ์ใหม่ 
(สำหรับสมุนไพรปรับกลิ่นอากาศ)



ภาพ : การออกแบบอัตลักษณ์แบบใหม่ (ด้านหน้า)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า
ภาพ : การออกแบบอัตลักษณ์รูปแบบใหม่ (ด้านข้าง)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า

การแก้ไขปัญหาคือ การออกแบบอัตลักษณ์โดยการนำรูปภาพมาประกอบใช้ เพื่อให้เห็นสินค้าชัดเจนว่าสิ่งที่อยู่ข้างใน มีรูปแบบและลักษณะไหน การใช้รูปภาพนั้น เป็นการประหยัดต้นทุนแทนที่จะเป็นการซีนพลาสติกใส ซึ่งการออกแบบลักษณะนั้น จะทำให้ต้นทุนของกล่องมีราคาที่สูงมากขึ้น การนำรูปภาพมาใช้ และสีสันต์ที่ถูกออกแบบให้สดใสสะดุดตา จึงเป็นการคงที่ไว้สำหรับต้นทุนเดิม





................................................................................


การออกแบบโลโก้สำหรับกลุ่มน้ำพริกสารพัดพริก 

จังหวัดชัยนาท



แบบที่ 1

ภาพ : โลโลก้กลุ่มสารพัดพริกแบบที่ 1 (แบบสี)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า



ภาพ : โลโลก้กลุ่มสารพัดพริกแบบที่ 1 (ขาวดำ)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า




แบบที่ 2

ภาพ : โลโลก้กลุ่มสารพัดพริกแบบที่ 2 (แบบสี)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า



 ภาพ : โลโลก้กลุ่มสารพัดพริกแบบที่ 2 (ขาวดำ)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า




แบบที่ 3




ภาพ : โลโลก้กลุ่มสารพัดพริกแบบที่ 3 (แบบสี)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า




 ภาพ : โลโลก้กลุ่มสารพัดพริกแบบที่ 3 (ขาวดำ)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า




แบบที่ 4
 ภาพ : โลโลก้กลุ่มสารพัดพริกแบบที่ 4 (แบบสี)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า



 ภาพ : โลโลก้กลุ่มสารพัดพริกแบบที่ 4 (ขาวดำ)
ที่มา : นพวรรณ แซ่เล้า





Concept :  น้ำพริกสารพัดพริกนั้นเป็นอีกหนึ่งสินค้าที่มีชื่อเสียงด้านความอร่อยประจำจังหวัดชัยนาท ซึ่งการออกแบบโลโก้ให้มีความสวยงาม และดูมีคุณค่าที่น่าเชื่อถือก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งในการขาย ซึ่งหลักการออกแบบนั้น จะเน้นไปที่สีสันต์ของความเผ็ดร้อน ซึ่งตรงกับความหมายของชื่อกลุ่มน้ำพริกสารพัดพริก และยังเพิ่มความสวยงาม และสื่อสารได้เข้าใจง่ายมากขึ้นด้วยการเพิ่มรูปพริกสีแดงเข้าไปเพื่อเป็นลูกเล่นและสัญญาลักษณ์ทางการค้าอีกด้วย


.............................................................

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น